24 มิถุนายน 2564

ความหวานกับความเสี่ยงของสุขภาพ

ทราบหรือไม่ปัจจุบันมีคนไทยที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานมากแค่ไหน

  • คนไทยป่วยเป็นโรคเบาหวานเกือบ 5 ล้านคน
  • 36% เท่านั้นที่ได้รับการดูแลรักษา

ทั้งนี้ยังไม่นับรวมกับผู้ที่ไม่รู้ตัวว่ากำลังมีภาวะเสี่ยงการเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 ที่เกิดจากการใช้ชีวิตและการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสัดส่วนอีกมาก ปัจจุบันเริ่มพบภาวะเบาหวานในคนที่อายุน้อยลงเรื่อยๆ ซึ่งนำมาสู่ภาวะโรคอ้วน โรคความดันสูงและโรคหัวใจหลอดเลือด โรคเบาหวานนับเป็นโรคที่รักษาด้วยยาไม่หายและมีค่าใช้จ่ายตลอดชีวิต รวมถึงเสี่ยงต่อโรคแทรกซ้อนที่จะตามมาอีกมากมาย ดังนั้นการรีบดูแลป้องกันแต่เนิ่นๆ จึงมีความสำคัญมาก

ความหวานกับความเสี่ยงสุขภาพ

อินเดียน กู๊ดส์เบอร์รี่

อินเดียน กู๊ดส์เบอร์รี่ พืชชนิดแรกในจักรวาล

ในทางการแพทย์อายุรเวทกว่า 3,000 ปีมีการใช้สมุนไพรชนิดหนึ่งที่เรียกว่าอินเดียน กู๊ดส์เบอร์รี่ หรือมะขามป้อมอินเดีย ที่เป็นสายพันธุ์ดั้งเดิมตั้งแต่สมัยโบราณ โดยเป็นพืชทางการแพทย์ที่ช่วยปรับสมดุลร่างกาย โดยเฉพาะสมดุลของน้ำตาลและไขมันในเลือด สุขภาพหลอดเลือดและการดูแลสุขภาพองค์รวม

ปัจจุบันมีการศีกษาวิจัยสารสกัดผลอินเดียน กู๊ดส์เบอร์รี่ มากขึ้นโดยสกัดเอาเฉพาะสารสำคัญด้วยกระบวนการพิเศษ

  • ได้รับการจดสิทธิบัตร 8 ฉบับ
  • สกัดจากผลสดด้วยน้ำ 100% จนได้ผงที่มีความเข้มข้นมากขึ้นถึง 20 เท่า
  • มีงานวิจัยต่างๆ ที่ช่วยดูแลสมดุลน้ำตาลและไขมันในร่างกาย

จากงานวิจัยพบว่า การดื่มเครื่องดื่มสกัดผงอินเดียน กู๊ดส์เบอร์รี่ 1,000 มก. ต่อวัน ให้ผลลัพธ์ที่ดีต่อสุขภาพดังนี้

ปรับสมดุลน้ำตาลในเลือด 1

อินเดียน กู๊ดส์เบอร์รี่

โดย 4 ใน 5 คนมีค่าน้ำตาลลดลงภายใน 2 ชั่วโมงหลังทานอาหาร โดยลดได้สูงสุดถึง 22%

ลดระดับน้ำตาลสะสม

อินเดียน กู๊ดส์เบอร์รี่

ในผู้ที่มีความเสี่ยงการเป็นเบาหวานหรือที่เรียกว่า HbA1c โดยลดได้สูงสุด 15% ภายใน 1 เดือน

อินเดียน กู๊ดส์เบอร์รี่

ช่วยดูแลควบคุมไขมันในร่างกาย 2, 3

อินเดียน กู๊ดส์เบอร์รี่

เพิ่มไขมันดี (HDL) สูงสุด 77% ภายใน 1 เดือน

ลดไขมันร้าย (Triglyceride)

อินเดียน กู๊ดส์เบอร์รี่

ลดไขมันร้าย (Triglyceride) 24% และ (LDL) 25% ภายในเวลา 3 เดือน

1. ทดสอบในอาสาสมัครจำนวน 5 คน โดยรับประทานอาหารที่มีพลังงาน 584 กิโลแคลอรี่ (คาร์โบไฮเดรต 91 กรัม น้ำตาล 60 กรัม) และอินเดียน กู๊ดส์เบอร์รี่ 1,000 มก. วัดค่าระดับน้ำตาลหลังทาน 2 ชม.
2. ทดสอบในอาสาสมัครจำนวน 33 คน รับประทานอินเดียน กู๊ดส์เบอร์รี่ วันละ 1,000 มก. เป็นเวลา 1 เดือน
3. ทดสอบในอาสาสมัครจำนวน 80 คน รับประทานอินเดียน กู๊ดส์เบอร์รี่ วันละ 1,000 มก. เป็นเวลา 3 เดือน

ดังนั้นการใส่ใจดูแลสุขภาพด้วยการปรับลดสัดส่วนของอาหารกลุ่มแป้งและไขมันให้เหมาะสมกับกิจกรรมในแต่ละวัน ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และควรหาตัวช่วยเพื่อสร้างสมดุลของน้ำตาลและไขมัน เพื่อช่วยเสริมสุขภาพในทุกวัน